ยื่นแบบภาษีออนไลน์ ด้วย E-Filing ง่ายกว่านี้มีอีกไหม
1111
111
ช่วงเวลา ต้นปี เป็นช่วงที่ผู้มีรายได้ ต้องเริ่มยืนแบบเสียภาษี ช่อทางการยื่นแบบ มีหลากหลายช่องทาง เช่น ยื่นแบบกระดาษ ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ หรือ ยื่นแบบผ่าน www.rd.go.th และอีกช่องทางหนึ่งที่สะดวกรวดเร็ว ง่ายมากคือการ ยื่นแบบภาษีออนไลน์ ผ่าน E-Filing วันนี้ทาง Blifeplanner ได้รวบรวมวิธีการให้ดังนี้
111
1.เข้า เว็บไซต์หลัก ของสรรพากร https://efiling.rd.go.th/rd-cms/ และ ยื่นแบบออนไลน์ สำหรับผู้ที่เคยสมัครแล้วใช้งานได้แลย
111
แต่ถ้า ยังไม่เคยใช้งานต้องสมัครสมาชิก ด้วยข้อมูลเลขบัตรประชาน และเบอร์ โทรศัพท์เพื่อสำหรับส่ง OTP ในการใช้งานเพื่อความปลอดภัย ซึ่งเบอร์สามารถ Update ได้ตลอดเวลา
1
111
2.เมื่อเข้าหน้าระบบ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา แล้ว ให้เลือก แบบ ที่ต้องการ เช่น ภ.ง.ด. 90/91 และทำการกรอกข้อมูล เช่น กรอกข้อมูลผู้ยื่น แบบ ภาษี กรอกข้อมูลเงินได้ กรอกข้อมูลค่าลดหย่อนภาษีที่ได้ใช้สิทธิ์ ตรวจสอบความถูกต้อง และ ยืนยันข้อมูล
1
111
3.กรอกข้อมูลต่างๆ เริ่มจาก
ข้อมูล ส่วนตัว เลขบัตรประชาชน สถานภาพครอบครัว วันเดือนปีเกิดเป็นต้น
1
r
111
หลังจากนี้นกรอก ข้อมูลแหล่งที่มารายได้ต่างๆ แต่ละประเภท ประกอบด้วย 8 ประเภท ประกอบด้วย
ประเภท 1 เงินเดือน
ประเภท 2 ค่าจ้างทั่วไป
ประเภท 3 ค่าลิขสิทธิ์ และ ทรัพย์สินทางปัญญา
ประเภท 4 ดอกเบี้ย เงินปันผล และ Cryptocurrency
ประเภท 5 ค่าเช่า
ประเภท 6 ค่าวิชาชีพ
ประเภท 7 ค่ารับเหมาทั้งค่าแรงและ ค่าของ
ประเภท 8 เงินได้อื่นๆ ที่ไม่เข้าพวก
1
1
r
111
เมื่อกรอกข้อมุลแล้ว อย่ามลืมกด บันทึกทุกครั้ง
ข้อมูล ด้านค่าลดหย่อนแต่ละประเภทที่ใช้สิทธิ์ ประกอบด้วย 4 กลุ่ม
กลุ่มที่1ค่าลดหย่อนส่วนตัวและครอบครัว
-ค่าลดหย่อนผู้มีเงินได้ 60,000 บาท
-ค่าลดหย่อนบุตร
-ค่าอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา
-ค่าเบี้ยประกันสุขภาพ บิดามารดา
-ค่าอุปการะเลี้ยงดูคนพิการ หรือ บุคคลทุพพลภาพ
1
r
r
1
กลุ่มที่ 2 ค่าลดหย่อนด้านประกันชีวิตและ การลงทุน
-เงินสำรองเลี้ยงชีพ
-เงินกองทุนบำเหน็จบำนาญ กบข
-เงินกองทุนสงเคราะห์ครู โรงเรียนเอกชน
-เงินชดเชยตามสิทธิ์กฎหมายแรงงาน
-เงิน กองทุนการออมแห่งชาติ กอช
-เงินสมทบประกันสังคม
-เบี้ยประกันชีวิตและสุขภาพ
-เบี้ยประกันบำนาญ
-เงินซื้อหน่วยลงทุนกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ RMF
-เงินซื้อหน่วยลงทุุนกองทุนรวมการออมระยะยาว
1
r
1
กลุ่มที่3 ค่าลดหย่อน ค่ายกเว้น จากสินทรัพย์ และ มาตรการนโยบายภาครัฐ
-ดอกเบี้ยเงินกู้สำหรับที่อยู่อาศัย
-เงินบริจาคพรรคการเมือง
-เงินค่าฝากครรภ์และ ค่าคลอดบุตร
1
1
กลุ่มที่4 เงินบริจาค
-เงินบริจาคสนับสนุนการศึกษา สถานพยาบาล และสภากาชาด
-เงินบริจาคต่างๆ
r
r
r
111
4เมื่อใส่ข้อมูลทั้งหมดระบบจะทำการประมวล รายได้พึงประเมิน หักรายจ่าย หักค่าลดหย่อนทุกประเภท ออกมาเหลือเป็น รายได้สุทธิ และนำมาเทียบตารางตามอัตราภาษีที่กำหนโดย รายได้สุทธิ 1-150,000 จะได้รับการยกเว้นภาษี เช่น รายได้ 1ล้านบาท ส่วนที่เกิน 150,001 จะนำมาคำนวนตามฐานภาษี ซึ่งระบบจะคำนวนออกมาว่ายอดภาษีสุทธิที่ชำระไว้เกิน แสดงว่า ได้เงินคืนภาษี ผู้ยื่นภาษีสามารถทำเรื่องขอคืนภาษีได้
5.ตรวจสอบข้อมูลเพื่อความถูกต้อง ก่อนยืนยัน เมื่อยื่นเรียบร้อยสามารถ พิมพ์และกดส่งแบบยื่นภาษีและสามารถ ทำเรื่องขอคืนภาษีที่ชำระไว้เกินด้วยการเลือกช่องทางโอนเงินเข้า พร้อมเพย์ ได้ทันที
r
r
ช่องทางชำระเงิน
1.โอนผ่าน QR CODE หรือ ชำระช่องทุกธนาคาร
2.แคชเชียร์เช็ค เช็ค
3.บัครเครดิตทุกธนาคาร ทั้งระบบ Online และ OFF Line
4.เงินสดพร้อมเอกสารรับเงิน
บวรธีรักษ์ บรรณบวรพงษ์
ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายขาย บริษัทเมืองไทยประกันชีวิต จำกัด(มหาชน)
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
FChFP – Fellow Chartered Financial Practitioner
คุณวุฒิทางวิชาชีพสำหรับมืออาชีพ ด้านบริการทางการเงิน
MDRT คือ สมาคมของที่ปรึกษาทางการเงินนานาชาติ
ประสบการทำงาน20ปี
MASTER TRAINERฝ่ายขาย